บทความวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

GLOBE ประเทศไทย

197_14-17_ผลักดันนวัตกรรมน้ำ ของเด็กไทยสู่เวทีน้ำโลก.pdf

ผลักดันนวัตกรรมน้ำ ของเด็กไทยสู่เวทีน้ำโลก

“นวัตกรรม หรือ Innovation” เป็นคำคุ้นเคยที่มีการพูดกันถึงนวัตกรรมใหม่ ๆ อย่างกว้างขวางในสังคมไทย เพื่อต่อยอดการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศให้มีความทันสมัย และสะดวกสบายยิ่งขึ้น ปัจจุบันการศึกษาไทยกำลังมุ่งส่งเสริม...

222_39-44-เส้นทาง Go Inter... นักสิ่งแวดล้อมรุ่นเยาว์.pdf

เส้นทาง Go Inter... นักสิ่งแวดล้อมรุ่นเยาว์

บทความนี้ได้นำเสนอลักษณะและเส้นทางสู่เวทีการประกวดผลงานวิจัยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (GLOBE Student Research Competition: GLOBE SRC) และการประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมในการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ...

175_22-25_12 ปี กับการดำเนินกิจกรรมโครงการ GLOBE ของโรงเรียนในประเทศไทย.pdf

12 ปี กับการดำเนินกิจกรรมโครงการ GLOBE ของโรงเรียนในประเทศไทย

สสวท. ได้เล็งเห็นว่าเป้าหมายของโครงการ GLOBE สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของ สสวท. ในการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาเพื่อให้นักเรียนไทยมีความรู้ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีทัดเทียมกับนานาชาติ 

183_49-51_The 2nd International Conference on Southeast Asian Weather and Climate 2013.pdf

The 2nd International Conference on Southeast Asian Weather and Climate 2013

ปัญหาจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกที่มีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ทั้งในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค ...

136_24-27_กว่าจะได้เป็นวิทยากรของโครงการ GLOBE.pdf

กว่าจะได้เป็นวิทยากรของโครงการ GLOBE 

การประชุม GLOBE International Train the Trainer Workshop เป็นการประชุมที่จัดขึ้นเพื่ออบรมผู้เข้าร่วมประชุมให้เป็นวิทยากรของโครงการ GLOBE การประชุมในลักษณะนี้จะจัดขึ้นทุกปี โดยหมุนเวียนกันไปในแต่ละประเทศสมาชิกที่มีความพร้อม 

121_28-31-กิจกรรมการศึกษาค้นคว้าตามโครงการ GLOBE.pdf

กิจกรรมการศึกษาค้นคว้าตามโครงการ GLOBE 

GLOBE ย่อมาจาก Global Learning and Observations to Benefit the Environment แล้วโครงการนี้เป็นโครงการเกี่ยวกับอะไร มีจุดมุ่งหมายอย่างไร 

205_28-31_การอบรมครูผ่าน GLOBE Protocol eTraining.pdf

การอบรมครูผ่าน GLOBE Protocol eTraining

ครูหรือบุคคลทั่วไปที่สนใจจะเข้ารับการอบรมหลักวิธีดำเนินการตรวจวัดข้อมูลสิ่งแวดล้อมของ GLOBE ผ่าน GLOBE Protocol eTraining สามารถส่งข้อมูลการตรวจวัดสิ่งแวดล้อมตามหลักวิธีดำเนินการ...

196_18-20_จุดประกายความคิด กับนักบินอวกาศองค์การนาซ่า.pdf

จุดประกายความคิด กับนักบินอวกาศองค์การนาซ่า

การมาเยือนของ ผู้อำนวยการองค์การนาซ่า นอกจากจะสร้างความตื่นเต้นและความภูมิใจแก่นักเรียนที่ได้พบนักบินอวกาศที่มีประสบการณ์ในการท่องอวกาศมา 4 รอบแล้ว คุณค่าของเนื้อหาที่บรรยาย...

166_13-17_เยือนแดน ภารตะ อย่างมีสาระกับ GLOBE.pdf

เยือนแดน ภารตะ อย่างมีสาระกับ GLOBE

ถ้ากล่าวถึงประเทศอินเดียเรามักนึกถึงอะไร ผู้อ่านอาจบอกว่า แหมง่ายมาก ก็คงต้องคนอินเดียที่เราเรียกว่า แขก น่ะสิ อาหารก็เป็น โรตีแกงกะหรี่ การแต่งการก็ต้องเป็นชุดส่าหรี ถ้าทาะานตอบเเบบนี้ก็ถูกค่ะ แต่อินเดียมีมุมมองที่มากกว่านั้น เพระนอกจากวัฒนธรรมที่โด่ดเด่นแล้ว ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ...

159_70-71_โครงการ FLEXE.pdf

โครงการ FLEXE

ผู้อ่านเคยคิดไหมว่า ในสภาพแวดล้อมที่มีความดันสูง แสงไม่สามารถส่องถึง ไม่มีออกซิเจนในการดำรงชีวิต และมีอุณหภูมิสูง จะมีสิ่งมีชีวิตใดสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ นักวิทยาศาสตร์กลุ่มหนึ่งก็มีความสงสัยเช่นกัน จึงได้ทำการสำรวจใต้ทะเลลึกซึ่งเป็นระบบนิเวศน์...

193_33-38_สนุกอย่างมีสาระใน City in a Garden สิงคโปร์.pdf

สนุกอย่างมีสาระใน City in a Garden สิงคโปร์

สิงค์โปร์เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว เพียงประเทศเดียวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นประเทศที่ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก เพื่อมุ่งมั่นที่จะเป็นเมืองในสวน “City in a Garden” เมืองสีเขียว...

หลักสูตร กิจกรรมส่งเสริมหลักสูตรวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ

157_74-75_เรียนวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ สนุกและได้ความรู้.pdf

เรียนวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ สนุกและได้ความรู้

อย่างที่เราทราบกันดี ไม่ว่าจะเป็นยุคใด ๆ นักเรียนส่วนใหญ่ เมื่อได้ยินคำว่า "วิทยาศาสตร์" จะรู้สึกขนลุกและทำหน้ากืนไม่เข้าคายไม่ออกกับความยากในการทำความเข้าใจและเรียนวิทยาศาสตร์ แม้กระทั่งคุณครูเองก็คงจะรู้สึกหนักใจอยู่ไม่น้อยที่จะต้องสรรหากลวิธีในการกระตุ้นและเรียกร้องความสนใจใคร่รู้ในการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน 

153_73-76_ค่ายนักวิจัยวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ.pdf

ค่ายนักวิจัยวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ (Earth System Science)

โครงการ GLOBE ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนเอง ผ่านการทำงานวิจัย จากค่ายนักวิจัยวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ ซึ่งจะจัดขึ้นในช่วงปิดเทอมใหญ่ของทุกปี 

145_70-72_การใช้ concept mapping ในการสอนโลกทั้งระบบ.pdf

การใช้ concept mapping ในการสอนโลกทั้งระบบ

ต้นเดือนสิงหาคม 2549 Dr. Edward E. Geary รักษาการผู้อำนวยการโครงการ GLOBE สหรัฐอเมริกา ได้บรรยายพิเศษ เรื่องการศึกษาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน การอบรมประกอบไปด้วยการทำให้เห็นภาพรวมของการเปลี่ยนแปลงโลก...

143_76-79-การส่งเสริมให้นักเรียนทำงานวิจัยเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ.pdf

การส่งเสริมให้นักเรียนทำงานวิจัยเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ

การส่งเสริมให้นักเรียนทำงานวิจัยเกี่ยวกับโลกทั้งระบบ (Earth System Science: ESS) โดยบูรณาการกับมาตรฐานการเรียนรู้ 

การทำงานวิจัย  การส่งเสริมการทำงานวิจัย

226_51-53-การสัมมนางานวิจัยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมระดับนักเรียนแบบเสมือนจริงกับงาน GLOBE Virtual Student Science Symposia.pdf

การสัมมนางานวิจัยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมระดับนักเรียนแบบเสมือนจริงกับงาน GLOBE Virtual Student Science Symposia

GLOBE Virtual Student Science Symposia (IVSS) เป็นการสัมมนาเสมือนจริงจัดขึ้นโดยโครงการ GLOBE ประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อลดความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 

166_67-68_การสำรวจสภาพภูมิอากาศ ผ่านการทำงานวิจัยของนักเรียน.pdf

การสำรวจสภาพภูมิอากาศ ผ่านการทำงานวิจัยของนักเรียน

ภูมิอากาศในระยะเวลานาน ๆ เป็นลักษณะเฉลี่ยของอากาศในภูมิภาคแห่งใดแห่งหนึ่งในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยอาจจะเป็นเดือน ปี หรือเป็นศตวรรษก็ได้ 

199_50-53_ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำงาน วิจัยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม.pdf

ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำงาน วิจัยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

สสวท. ได้ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามแนวทางสะเต็มศึกษา โดยเน้นการนำ ความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง ส่งเสริมประสบการณ์ทักษะชีวิต ความคิดวิเคราะห์และความคิดสร้างสรรค์เพื่อนำ ...

177_28-31_โครงการ GLOBE กับการรณรงค์ให้นักเรียนทำงานวิจัยด้านภูมิอากาศ.pdf

โครงการ GLOBE กับการรณรงค์ให้นักเรียนทำงานวิจัยด้านภูมิอากาศ

การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในปัจจุบันส่งผลกระทบต่อสิ่งเเวดล้อม รวมถึงมนุษย์ที่อาศัยบนโลกใบนี้ จึงเป็นสิ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่ทุกคนต้องตระหนักและเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบดังกล่าว 

165_70-73_งานวิจัยนักเรียน การศึกษาคุณภาพน้ำในน้ำแม่ลาว.pdf

งานวิจัยนักเรียน การศึกษาคุณภาพน้ำในน้ำแม่ลาว

ตัวอย่างงานวิจัย

166_67-68_การสำรวจสภาพภูมิอากาศ ผ่านการทำงานวิจัยของนักเรียน.pdf

งานวิจัยนักเรียน การศึกษาปริมาณออกซิเจนละลายน้ำและปัญหาน้ำเน่าเสียในบึงแก่นนคร

ตัวอย่างงานวิจัย

167_80-85_งานวิจัยนักเรียน เปลือกหอยแครงเผาปรับสภาพดินกรด.pdf

งานวิจัยนักเรียน เปลือกหอยแครงเผาปรับสภาพดินกรด

ตัวอย่างงานวิจัย

155_70-72_ถ้าวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพน้ำ ควรต้องคำนึงถึงอะไรบ้าง.pdf

ถ้าวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพน้ำ ควรต้องคำนึงถึงอะไรบ้าง

หากผู้อ่านมีความสนใจที่จะศึกษาที่เกี่ยวกับการเปลี่ยแปลงของคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำต่าง ๆ ปัจจัยสำคัญที่เกี่ยวข้องและควรต้องคำนึงถึงคือ ลักษณะสภาพแวดล้อมและกิจกรรมบริเวณสองฝั่งของลำน้ำ ...

160_72-73_มาร่วมกันปลูกต้นไม้รอบโลกกันเถอะ.pdf

จะทบทวนเอกสารอย่างไร เพื่อให้ได้งานวิจัยที่มีคุณภาพ

งานวิจัยที่ดีมีคุณภาพนั้น นอกจากจะมีหัวข้องานวิจัยที่น่าสนใจ เป็นการค้นพบสิ่งใหม่ มีความทันสมัย มีวิธีการวิจัยที่แม่นยำ มีคุณค่าและมีความสำคัญที่จะเป็นประโยชน์ต่อสังคมทั้งในระดับท้องถิ่น ประเทศ และนานาชาติแล้ว การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง....

208_3-7-นวัตกรรมดูแลสิ่งแวดล้อม ทุกคนสร้างได้.pdf

นวัตกรรมดูแลสิ่งแวดล้อม ทุกคนสร้างได้

ภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกปัจจุบัน เทคโนโลยีที่ทันสมัยได้ก้าวเข้ามามีบทบาทมากในการดำรงชีวิตประจำวันของเรา จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ประกอบกับการลงมือทำอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดการค้นพบนวัตกรรม...

187_39-42_เรียนรู้สะเต็มผ่านงานวิจัย.pdf

เรียนรู้สะเต็มผ่านงานวิจัย

ในแวดวงการศึกษาในปจัจุบัน “STEM” กำลังอยู่ในความสนใจ โดย สสวท. มุ่งเน้นส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงในชีวิตประจำวันของนักเรียน เพื่อเข้าใจ แก้ไขปัญหา และพัฒนาสิ่งประดิษฐ์หรือคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ ผ่านการทำกิจกรรม โครงงาน...

เกม กิจกรรม สื่อ วิธีการตรวจวัด วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

195_29-32_ปั้นเมฆ.pdf

ปั้นเมฆ

ทำไมวันนี้เห็นเมฆก้อนใหญ่คล้ายภูเขา เมฆก้อนนี้คือเมฆอะไร เป็นเมฆชนิดเดียวกันหรือไม่g แลว้ เมฆบอกอะไรเราบา้ งนะ หลากหลายคำถามที่เป็นความอยากรู้เกี่ยวกับเมฆ ทำให้เราต้องให้ความสนใจในการเรียนรู้เรื่องเมฆ 

174_45-51_เรียนรู้โลกร้อนจากการ์ตูนแอนิเมชัน.pdf

เรียนรู้โลกร้อนจากการ์ตูนแอนิเมชัน

สสวท. เป็นหน่วยงานหนึ่งที่ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมให้เยาวชนของชาติได้เรียนรู้เรื่องสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำสื่อการ์ตูน 3D-Ani-mation:Sci-kids พิชิตปริศนา เรื่อง แก้ปัญหาโลกร้อน ตอน ปรากฏการณ์เรือนกระจกและภาวะโลกร้อน 

212_45-51-เรียนรู้ยุงลาย ห่างไกลซิกา.pdf

เรียนรู้ยุงลาย ห่างไกลซิกา

ปัจจุบันโรคติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika virus disease) ที่มียุงเป็นพาหะ เป็นปัญหาสาธารณสุขระดับนานาชาติที่องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจากมีการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วกว้างขวาง ยังไม่มียารักษาโดยเฉพาะและไม่มีวัคซีนป้องกันโรค ...

217_8-15-ส่องแอโรซอลในอากาศ.pdf

ส่องแอโรซอลในอากาศ

แอโรซอล (Aerosol) เป็นอนุภาคขนาดเล็กในสถานะของเหลวหรือของแข็ง ที่แขวนลอยอยู่ในอากาศได้นานหลายวัน หลายเดือน หรือปี ขึ้นอยู่กับขนาด รูปร่าง และสภาพอากาศในบริเวณนั้น แอโรซอลที่แขวนลอยในอากาศทำให้เรามองเห็นท้องฟ้าหม่นมัว การตรวจวัดแอโรซอล...

178_26-27_ตามหาคาร์บอน.pdf

ตามหาคาร์บอน

กิจกรรมตามหาคาร์บอนที่นำเสนอนี้เป็นกิจกรรมเรียนรู้เกี่ยวกับวัฏจักรคาร์บอน ซึ่งมีเป้าหมาย ต้องการให้ผู้ร่วมกิจกรรมได้เข้าใจวัฏจักรคาร์บอนในแง่มุมที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ซึ่งปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่กล่าวถึงจะหมายถึง ภาวะที่เป็นไปในทิศทางที่อุณหภูมิของโลกสูงขึ้น 

216_31-36-มลพิษทางอากาศกับลักษณะท้องฟ้าที่สังเกตเห็น.pdf

มลพิษทางอากาศกับลักษณะท้องฟ้าที่สังเกตเห็น

โครงการ GLOBE มีกิจกรรมสำหรับนักเรียนที่จะได้เรียนรู้ สำรวจ และตรวจวัดข้อมูลด้านบรรยากาศอย่างง่าย เพื่อจำแนกสีท้องฟ้าและความสามารถในการมองเห็นบนท้องฟ้า ซึ่งปัจจัยเหล่านี้จะช่วยให้เข้าใจผลกระทบของละออกลอยในอากาศ (Aerosols)...

211_33-37-ภัยพิบัติสิ่งที่เยาวชนไทยควรรู้.pdf

ภัยพิบัติสิ่งที่เยาวชนไทยควรรู้

โลกกำลังเข้าสู่การเผลิญกับภัยพิบัติธรรมชาติต่าง ๆ จากข้อมูลการเกิดภัยพิบัติทั่งโลกในปี ค.ศ. 2017 ของ Munich Re แสดงให้เห็นว่าแนวโน้มของภัยพิบัติทั่วโลกโดยรวมมีเพิ่มขึ้น โดยภัยพิบัติเกิดขึ้นอย่างรุนแรงและมีผู้เสียชีวิตมากมาย 

154_58-60_กิจกรรมง่าย ๆ ผ่านการดูดาว.pdf

กิจกรรมง่าย ๆ ผ่านการดูดาว

หลายคนชื่นชอบการดูดาวเป็นชีวิตจิตใจ รู้หรือไม่ว่านอกจากการดูดาวเพื่อความเพลิดเพลินเเล้ว ยังสามาร ถช่วยบอกสภาพมลพิษบนดลกได้ทางหนึ่ง คือ มลพิษทางแสง โดยโครงการ GLOBE มีวัตถุประสงค์เพื่อรณรงค์ให้ครู นักเรียน นักวิทยาศาสตร์ ... 

148_68-69_กิจกรรมง่าย ๆ จากต้นไม้.pdf

กิจกรรมง่าย ๆ จากต้นไม้เพียงต้นเดียว

เพียงต้นไม้ต้นเดียวก็สามารถทำกิจกรรมได้หลายอย่าง ซึ่งเป็นการฝึกใช้ทักษะการสังเกต การจดบันทึก และการคำนวณด้วยคณิตศาสตร์อย่างง่าย 

132_24-2_การสำรวจแหล่งน้ำ.pdf

การสำรวจแหล่งน้ำ

ช่วงนี้ฝนตกบ่อย ๆ ครั้งนี้เลยขอเขียนเกี่ยวกับเรื่องน้ำดีกว่า เพราะตอนนี้ไม่ว่ามองไปทางไหนก็เห็นแต่น้ำเต็มไปหมด กิจกรรมที่จะนำเสนอในครั้งนี้เป็นการสำรวจแหล่งน้ำ โดยเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่จะต้องเป็นผู้เดินเพื่อสำรวจแหล่งน้ำ 

129_23-26_การวัดอุณหภูมิดิน.pdf

การวัดอุณหภูมิดิน

เคยสงสัยบ้างหรือไม่ว่านักวิทยาศาสตร์เก็บข้อมูลอุณหภูมิดินกันอย่างไร และทำไมจึงต้องมีการเก็บข้อมูลอุณหภูมิดิน 

128_18-22-การวัดค่าปฏิกิริยาดิน.pdf

การวัดค่าปฏิกิริยาดิน

ปัญหาในการเพาะปลูกพืชของประเทศที่ได้ผลผลิตน้อย ปัจจัยหนึ่งในการเจริญเติบโตของพืชคือ สมบัติทางเคมีของดิน ดินบางชนิดเป็นดินกรด บางชนิดเป็นดินด่าง ซึ่งเป็นดินที่เป็นปัญหาในการเพาะปลูกอย่างมาก 

144_71-73_เมฆก็มีชื่อเหมือนกัน.pdf

เมฆก็มีชื่อเหมือนกัน

คุณเคยสังเกตเมฆบนท้องฟ้าบ้างไหมว่ามีรูปร่างเป็นอย่างไร เมฆที่เราเห็นเหล่านี้มีชื่อเรียกเหมือนกับคนที่มีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน โดยชื่อที่ใช้เรียกเมฆได้มาจากรูปร่างลักษณะของเมฆที่เจอ... 

186_44-46_การศึกษาลูกน้ำยุง กับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ.pdf

การศึกษาลูกน้ำยุง กับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศต่อสุขอนามัยและโรคระบาดส่งผลให้คนทั่วโลกกังวลเป็นอย่างมาก เนื่องจากอุณหภูมิที่สูงขึ้นส่งผลให้เชื้อโรค หรือพาหะนำโรคบางชนิดเจริญได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้การที่โลกของเรามีการสื่อสารกันได้รวดเร็ว...

194_15-18_การตรวจวัดปริมาณน้ำฝนอย่างง่าย.pdf

การตรวจวัดปริมาณน้ำฝนอย่างง่าย

การตรวจวัดปริมาณน้ำฝนเป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งถือเป็นภารกิจของโลก โดยองค์การ NASA และ หน่วยงาน JAXA (Japan Aerospace Exploration Agency) ได้ร่วมมือกันศึกษาปริมาณน้ำฝนจากข้อมูลดาวเทียม Global Precipitation Measurement Core Observatory ...

170_74-77_เมฆกับลักษณะอากาศ.pdf

เมฆกับลักษณะอากาศ

เมื่อเรามองเมฆบนท้องฟ้า บางทีเราจะเห็นเมฆมีลักษณะที่เเตกต่างกัน เมฆเหล่านี้จะมีชื่อเรียกตามรูปร่างหรือระดับความสูงที่เมฆเหล่านั้นอยู่ ซึ่งเคยได้เขียนบทความเรื่อง เมฆก็มีชื่อเหมือนกัน ... 

160_72-73_มาร่วมกันปลูกต้นไม้รอบโลกกันเถอะ.pdf

มาร่วมกันปลูกต้นไม้รอบโลกกันเถอะ

ฉบับนี้มีกิจกรรมดี ๆ ที่ช่วยกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้กับโลกของเราได้อีกทางหนึ่งมาแนะนำให้รู้จัก... 

161_60-61_สื่อการเรียนรู้แนวใหม่กับ E-Book.pdf

สื่อการเรียนรู้แนวใหม่กับ E-Book

จากผลการสำรวจการอ่านหนังสือของประชากรไทย ในเดือนพฤษภาคม และมิถุนายน พ.ศ. 2551 พบว่า เด็กเล็กมีอัตราการอ่านหนังสือค่อนข้างน้อย (ร้อยละ 36.0) โดยเด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิงมีอัตราการอ่านหนังสือใกล้เคียงกัน ซึ่งเด็กเล็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ...

141_71-74-การไหลของน้ำผ่านดิน.pdf

การไหลของน้ำผ่านดิน (Just Passing Through)

สวัสดีค่ะท่านผู้อ่าน ฉบับที่ผ่านมาดิฉันได้นำเสนอกิจกรรม ที่เป็นกิจกรรม GLOBE ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนไปบ้างแล้ว ท่านที่นำกิจกรรมไปใช้ ได้ผลอย่างไรบ้างคะ นักเรียนสนุกกับกิจกรรมนี้ และสามารถเรียนรู้เรื่อง พีเอช มากขึ้นบ้างไหมคะ ฉบับนี้ก็เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับดินค่ะ 

139_46-48-เกมพีเอช.pdf

เกมพีเอช (pH Game)

สนุกกับกิจกรรม GLOBE นิตยสารฉบับนี้มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่เรียกว่า "เกมพีเอช" ซึ่งมีวัตถุประสงค์ให้ผู้เรียนได้ทราบระดับความเป็นกรด - เบสของของเหลวและสารที่อยู่รอบ ๆ โรงเรียน 

165_70-73_งานวิจัยนักเรียน การศึกษาคุณภาพน้ำในน้ำแม่ลาว.pdf

การสร้างอุปกรณ์ตรวจวัดอย่างง่ายด้วยตนเอง

ในการศึกษาเพื่อเข้าใจและดูการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม จำเป็นต้องอาศัยเครื่องมือและอุปกรณ์ในการตรวจวัดสิ่งแวดล้อมที่มีความถูกต้องแม่นยำ เป็นมาตรฐาน และได้รับการยอมรับ... 

147_74-76_รู้จัก pH ดินผ่านสื่อดิจิทัล.pdf

รู้จัก pH ดินผ่านสื่อดิจิทัล

สวัสดีคุณผู้อ่านทุกท่าน หลายๆ ท่านคงได้ยิน หรือคุ้นเคยกับคำว่า "สื่อดิจิทัล" หรือที่เราเรียกว่า "Learning Object" กันบ้างแล้ว ถ้าท่านใดยังไม่รู้จักสื่อดิจิทัล หรือต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติม ท่านสามารถเข้าไปอ่านได้ในนิตยสาร สสวท. ตั้งแต่ฉบับที่ 134 จนถึงปัจจุบัน สำหรับฉบับนี้ขอแนะนำให้ท่านรู้จักกับสื่อดิจิทัลเรื่อง pH ของดิน (Soil pH) ...

169_68-71_สื่อการสอนสร้างสรรค์ หนังสือทำมือ.pdf

สื่อการสอนสร้างสรรค์ หนังสือทำมือ

หนังสือทำมือเป็นอีกแนวทางเลือกหนึ่งในการนำ เสนอเนื้อหาสาระทางวิชาการให้มีความน่าสนใจโดยผู้เรียนได้ลงมือทำหนังสือด้วยตัวเองในราคาไม่แพง อันจะส่งผลให้ผู้เรียนหันกลับมาสนใจหนังสือมากยิ่งขึ้น 

เรื่องน่ารู้วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ

221_41-44-จาก GLOBE International Youth Camp 2019 สู่ 10th World Environment Education Congress.pdf

จาก GLOBE International Youth Camp 2019 สู่ 10th World Environment Education Congress

GLOBE International Youth Camp 2019 เป็นค่ายวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ที่เยาวชนและครูจากประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกที่เป็นสมาชิกในโครงการ GLOBE ร่วมกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม...

171_14-17_โลกร้อนรู้ไว้ไม่ตกเทรนด์.pdf

โลกร้อนรู้ไว้ไม่ตกเทรนด์

ในยุคนี้คงไม่มีใครปฏิเสธได้ว่าไม่เคยได้ยินคำว่า โลกร้อน (globel Warming) หากมองย้อนไปถึงสภาวการณ์ทางด้านสิ่งแวดล้อมตั้งเเต่ในอดีตที่มีการรณรงค์เพื่อรักษาโลกแล้ว เราจะทราบว่าโลกร้อนมีความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์เรือนกระจก... 

140_43-45-จุ๊ จุ๊ ต้นไม้กำลังหลับ.pdf

จุ๊ จุ๊ ต้นไม้กำลังหลับ

ต้นไม้ต้นนี้ทำไมดูแปลก มันจะตายหรือเปล่า ดูแทบจะไม่มีใบไม้เหลืออยู่ที่ต้นเลยนะ พอหน้าหนาวที่ไรเป็นอย่างนี้ทุกที 

135_34-36-น้ำขุ่น น้ำใสบอกอะไรเรา.pdf

น้ำขุ่น น้ำใสบอกอะไรเรา

ตามที่เราเคยเรียนมาตั้งแต่เด็กว่า คุณสมบัติของน้ำบริสุทธิ์จะต้องใส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ซึ่งถ้าเราลองสังเกตดูจะเห็นว่าน้ำจากแหล่งน้ำบางแห่งก็จะใสมากจนเห็นตัวปลา ทางโครงการ GLOBE มีหลักวิธีดำเนินการอย่างหนึ่งที่ใช้ในการตรวจ ... 

127_21-24-การแทรกซึมน้ำของดินมีผลกระทบต่อระบบโลกอย่างไร.pdf

การแทรกซึมน้ำของดินมีผลกระทบต่อระบบโลกอย่างไร

กิจกรรมการหาความหนาแน่นของอนุภาคดิน เป็นกิจกรรมหนึ่งซึ่งมีความสำคัญที่จะต้องตรวจวัด ถ้าเรารู้ข้อมูลทั้งความหนาแน่นของดิน และความหนาแน่นของอนุภาคดินแล้ว เราก็จะสามารถคำนวณความพรุนของดินได้ 

126_35-42-การแทรกซึมน้ำของดินมีผลกระทบต่อระบบโลกอย่างไร.pdf

การแทรกซึมน้ำของดินมีผลกระทบต่อระบบโลกอย่างไร

มีคนเคยเปรียบเทียบไว้ว่า ดินเปรียบเสมือนฟองน้ำขนาดใหญ่ที่ดูซับน้ำไว้สำรอง เพื่อให้ขบวนการและวัฏจักรของระบบนิเวศต่าง ๆ ดำเนินไปได้อย่างสมบูรณ์ 

122_23-27-เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับดิน ตอนที่ 1.pdf

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับดิน ตอนที่ 1

สมัยเด็ก ๆ คุณเคยหยิบดินขึ้นมาปั้นหรือบี้ดินเล่นบ้างหรือไม่ และเคยสังเกตไหม่าดินที่โรงเรียนกับดินที่บริเวณบ้านเหมือนหรือต่างกันอย่างไร 

123_24-27-เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับดิน.pdf

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับดิน ตอนที่ 2

สีดินบอกอะไรเรา 

133_52-54-อุณหภูมิน้ำสำคัญอย่างไร.pdf

อุณหภูมิน้ำสำคัญอย่างไร

หาคำตอบว่า ทำไมจึงต้องวัดอุณหภูมิของน้ำ อุณหภูมิของน้ำสำคัญอย่างไร 

173_09_13_การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับความหลากหลายทางชีวภาพ.pdf

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับความหลากหลายทางชีวภาพ

ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้ไม่มากก็นน้อย ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในแต่ละพื้นที่ และความสามารถในการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต...

149_72-74_ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คุณรู้จักดีแค่ไหน.pdf

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คุณรู้จักดีแค่ไหน!

ณ เวลานี้ ใครที่ไม่เคยได้ยินคำว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โลกร้อน หรือปรากฏการณ์เรือนกระจก ดูจะเป็นคนตกยุกในทันที แต่ทราบหรือไม่ว่าคำเหล่านี้มีความหมายเดียวกันหรือต่างกัน เกี่ยวข้องกันหรือไม่ อย่างไร ...

179_26-28_คิดก่อนบริโภค เพื่อโลกเพื่อเรา.pdf

คิดก่อนบริโภค เพื่อโลกเพื่อเรา

ผู้เขียนเชื่อว่าคงมีหลายคนที่ได้เห็นภาพโฆษณานี้ จะต้องสะดุดตากับของเหลวสีดำที่ออกมาจากปากของนางแบบแน่ ๆ และสงสัยใช่ไหมว่าต้องการจะสื่อสารอะไร 

176_17-21_บันทึกอุทกภัยลานีญา.pdf

บันทึกอุทกภัยลานีญา

สาเหตุใดส่งผลให้ปี พ.ศ. 2554 เกิดอุทกภัยอย่างหนักกว่าทุก ๆ ปี และในปี พ.ศ. 2555 นี้ จะเกิดอุทกภัยเช่นนี้อีกหรือไม่ และจะต้องเตรียมรับมืออย่างไรบ้าง 

181_03-06_พลังงานทางเลือกใหม่สำหรับรถยนต์.pdf

พลังงานทางเลือกใหม่สำหรับรถยนต์

จากฉบับที่แล้ว เราได้รู้จักรถยนต์พลังงานทางเลือกใหม่ และทำความรู้จักกับพลังงานทางเลือกใหม่สำหรับรถยนต์ที่มีออกมามากมายกันบ้าง ไม่ว่าจะเป็นแก๊สโซฮอล์ 95 แก๊สโซฮอล์ 91 E20 E85 ว่ามีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไรบ้าง และรถยนต์คันโปรดของเราเหมาะกับน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดใด 

180_03-06_รถยนต์ประหยัดพลังงาน Eco-Car.pdf

รถยนต์ประหยัดพลังงาน Eco-Car

ปัญหาภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน ถึงแม้จะเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ แต่ปัญใจหลักที่ทำให้ภาวะโลกร้อนเลวร้ายลงเรื่อน ๆ ก็คือการใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟือยและไม่มีประสิทธิภาพ ในขณะที่ราคาน้ำมันดิบของตลาดโลกในรอบหลายปีที่ผ่านมา มีการไต่ระดับสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องชัดเจน จนทำให้เราต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายพลังงานมหาศาลท่ามกลางการเกิดภาวะโลกร้อน 

จำนวนผู้เข้าชม